การตรวจประเมินความปลอดภัย (ด้านเครื่องจักร) ขั้นต้น

ในยุคที่เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปอย่างมาก การใช้เครื่องจักรในการผลิตและบริการกลายเป็นส่วนสำคัญที่ไม่อาจขาดได้ อย่างไรก็ตาม ประเด็นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องได้รับการให้ความสำคัญอย่างยิ่ง มาตรฐาน ISO 12100 ถือเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีความสำคัญในการกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนเกี่ยวกับความปลอดภัยของเครื่องจักร มาตรฐานนี้ไม่เพียงแต่ช่วยให้ผู้ผลิตและผู้ใช้เครื่องจักรเข้าใจถึงความเสี่ยงและวิธีการจัดการกับความเสี่ยงเหล่านั้นเท่านั้น แต่ยังช่วยให้สามารถออกแบบและผลิตเครื่องจักรที่มีความปลอดภัยสูงสุด บทความนี้จะเน้นไปที่การแนะนำและสรุปเนื้อหาหลักของมาตรฐาน ISO 12100 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของการประเมินความเสี่ยง การออกแบบเครื่องจักร การบำรุงรักษา และการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย มาตรฐาน ISO 12100: ความเข้าใจพื้นฐาน ประวัติและพัฒนาการของ ISO 12100 มาตรฐาน ISO 12100 ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้มีแนวทางที่ชัดเจนและเป็นสากลในเรื่องของความปลอดภัยของเครื่องจักร ตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการใช้งาน มาตรฐานนี้มีรากฐานมาจากหลายมาตรฐานก่อนหน้าที่มีเป้าหมายเดียวกัน…

Continue Readingการตรวจประเมินความปลอดภัย (ด้านเครื่องจักร) ขั้นต้น

การกำหนดโจทย์การวิจัย (ตามแบบฉบับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)

ตามที่ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าอบรมโครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่)” รุ่นที่ 3 โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที่ 22-26 สิงหาคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย นั้น ในวันนี้ทางผู้เขียนจะขอนำข้อมูลส่วนนึงที่น่าสนใจมาสรุปให้อ่านเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการทำวิจัยกัน           หัวข้อในวันนี้คือ การกำหนดโจทย์การวิจัย           การกำหนดโจทย์การวิจัย ในสมัยนี้ (ย้ำว่าสมัยนี้) ไม่ใช่โจทย์วิจัยตามความต้องการของผู้จัดทำวิจัยเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่กลายเป็นการผสมผสานให้เข้ากับความต้องการและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานที่สนับสนุนทุนวิจัยด้วย กล่าวแบบย่อ ๆ คือ ต้องมีการ “กำหนดโจทย์การวิจัย…

Continue Readingการกำหนดโจทย์การวิจัย (ตามแบบฉบับ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)

ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัดคุณภาพเครื่องมือทำวิจัย

จากที่ผู้เขียนได้มีโอกาสไปฝึกอบรมในโครงการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่) รุ่นที่ 3 วันที่ 22 ถึง 26 สิงหาคม 2565 ณ ห้องคำมอกหลวง อาคาร M-Square มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งเป็นการอบรมที่ดีมากและมีประเด็นที่น่าสนใจหลายประเด็น แต่ในครั้งนี้ผู้เขียนจะขอมาอธิบายเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัดคุณภาพเครื่องมือทำวิจัย เมื่อเราพูดถึงเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัดคุณภาพเครื่องมือทำวิจัย ก่อนอื่นเราจะต้องมาทำความเข้าใจในเรื่องความคลาดเคลื่อนหรือ error ก่อนว่ามันคืออะไร ค่าความคลาดเคลื่อน มันก็คือ ค่าความแตกต่างของค่าจริงที่ถูกวัดในทางปฏิบัติกับผลที่ได้จากการวัด เพราะฉะนั้นความคลาดเคลื่อนจากการวัดคุณภาพเครื่องมือทำวิจัย ก็คือ ค่าความแตกต่างของค่าจริงที่เราควรจะต้องวัดได้จากการใช้เครื่องมือวิจัยกับผลที่เราวัดได้จากการใช้เครื่องมือวิจัยนั้น หรือกล่าวได้ว่าค่าที่สังเกตหรือวัดได้ (Observe…

Continue Readingปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัดคุณภาพเครื่องมือทำวิจัย